การศึกษาผลของรูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบเด็กนักวิจัยที่มี
ต่อทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย
ความสำคัญของการศึกษาค้นคว้า
การศึกษาคร้ังน้ีจะเป็นแนวทางสำหรับครูและผู้ที่เกี่ยวข้องกับเด็กปฐมวัยในการที่จัดรูปแบบการเรียนการ
สอนโดยการนำรูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบเด็กนักวิจัยซึ่งเป็ นรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นสำคัญมาประยุกต์ใช้
ให้เหมาะเพื่อสามารถนำมาพัฒนาทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยรวมท้งัการพัฒนาทักษะ
พื้นฐานอื่นๆของเด็กปฐมวัยต่อไป
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย
ตัวอย่างที่ใชใ้นการศึกษาครั้งนี้คือ เด็กปฐมวยั ชาย-หญิง อายุระหว ่าง5-6ปีที่กำลังอยูในช่วงอนุบาลชั้นปีที่3
โรงเรียนอนุบาลทนาพรวิทยา อำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี
กรอบแนวคิดในการวิจัย
ตัวแปรจัดกระทำ = การจัดการเรียนรู้แบบเด็กนักวิจัย
ตัวแปรตาม = ทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์
1.ทักษะการสังเกต
2.ทักษะการจำแนกประเภท
3.ทักษะการสื่อความหมายข้อมูล
4.ทักษะการลงความเห็น
4.ทักษะการพยากรณ์
3.ทักษะการสื่อความหมายข้อมูล
4.ทักษะการลงความเห็น
4.ทักษะการพยากรณ์
สมมุติฐานในการวิจัย
เด็กปฐมวัยหลังจากได้รับการจัดการเรียนรู้เด็กนักวิจัยจะมีการเปลี่ยนแปลงของทักษะกระบวนการ
วิทยาศาสตร์แตกต่างจากก ่อนการจัดกิจกรรม
วิธีดำเนินการวิจัย
1. การกำหนดประชากรและการเลือกกลุ่มตัวอย่าง
2. การสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
3. การเก็บรวบรวมข้อมูล
4. การจัดกระทำและการวิเคราะห์ข้อมูล
การสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
ในการวจิยัคร้ังน้ีเครื่องมอืที่ใชใ้นการวจิยัคือ
1. แผนการจัดการเรียนรู้แบบเด็กนักวิจัย
2. แบบทดสอบวัดทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ สำหรับเด็กปฐมวัย
จุดประสงค์
1. เพื่อส่งเสริมทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์
-ทักษะการสังเกต
-ทักษะการจำแนกประเภท
-ทักษะการสื่อความหมายข้อมูล
-ทักษะการลงความเห็น
-ทักษะการพยากรณ์
2. เพื่อให้เด็กศึกษาค้นคว้าหาความรู้ได้ด้วยตนเองจากแหล่งเรียนรู้
3. เพื่อให้เด็กเกิดความสนุกสนานเพลิดเพลิน และสร้างบรรยากาศที่ดีในการเรียน
เนื้อหา
ไข่มีหลายประเภทมีประโยชน์ตอ่ ร่างกาย เรานำไข่มาทำ อาหารได้มากมายหลายชนิดหลายวีธีอีก
แปรรูปเพื่อเก็บรักษาได้ยาวนานขั้น
ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่1ขั้น ทบทวนความรู้และเลือกหัวข้อเนื้อหาที่สนใจ
ครูศึกษาความต้องการของผู้เรียนโดยการสนทนา ซักถาม หัวข้อเนื้อหาที่เด็กสนใจและให้เด็กเล่า
ประสบการณ์เดิมที่เกี่ยวข้องกับเรื่อง”ไข่”
ขั้นที่2ขั้น เด็กค้นคว้าหาความรู้
ขั้นที่3 ขั้นการประเมนิผล
การประเมินผล
1. สังเกตการณ์เข้าร่วมกิจกรรม
2. สังเกตการณ์ตั้งคำถามและตอบคำถาม
3. สังเกตการณ์พูดคุยสนทนา
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น