วันเสาร์ที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2558

โทรทัศน์ครู

โทรทัศน์ครูวิชาวิทยาศาสตร์  
การสอนวิทยาศาสตร์ของ คุณครูอังศนา  มาทอง  
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์โรงเรียนอัสสัมชัญสมุทรปราการ  
การทดลองการละลายน้ำ ครูเริ่มจากการเชื่อมโยงสิ่งแวดล้อมเข้ากับการทดลองการละลายน้ำ โดยการนำเข้าสู่บทเรียนโดยให้เด็กมีส่วนร่วมในการทดลองและ บันทึกการทดลองและ ให้เด็กออกมาพูดสรุปควมรู้ที่ได้การทดลองกรด-เบส                
ครูให้เด็กนำสารที่ต้องการหากรด-เบสมาทำการทดลองตามความต้องการของเด็ก และ ให้เด็กทำการทดลองเองเด็กจะรู้ว่าสารที่นำมามีสถานะเป็นกรด หรือ เบสและ ครูแนะนำให้เด็กรู้แกปัญหา 

ประโยชน์ที่รับ   
              
1.ได้ทราบว่านักเรียนมีส่วนร่วมในการเรียนการสอนจะทำให้นักเรียนได้รับความรู้มากกว่าการสอนแต่ในหนังสือ 
2.ได้รับคามรู้เกี่ยวกับการปรับใช้เทคนิคการสอนให้เหมาะสมกับเนื้อหาโดยยึดความรู้ที่นักเรียนจะได้รับเป็นสำคัญ                 
3.ได้ทราบว่านักเรียนมีความสนใจในการทดลองวิทยาศาสตร์มากอยากแนะนำคุณครูทุกคนว่าการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ยังวิธีการสอน หรือ เทคนิคการสอนมากมาย เช่น การใช้สื่อการสอนจากหนังสือ การทดลอง แต่อย่างไรก็ตามการที่จะสอนโดยวิธีการใดนั้นขึ้นอยู่กับเนื้อนั้นๆ และ ต้องให้เด็กมีส่วนร่วมในการเรียนการการสอนด้วย

บทความ

บทความวิทยาศาสตร์ส าหรับเด็กปฐมวัย
วิทยาศาสตร์ส าหรับเด็กปฐมวัย
ผู้แต่ง
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อัญชลี ไสยวรรณ


วิทยาศาสตร์เป็นการศึกษาเรื่องราวเกี่ยวกับชีวิตของเรา ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ส่งผล
ให้เราสามารถดูแลสุขภาพได้ดีขึ ้นและมีความเข้าใจเกี่ยวกับการโภชนาการผลจากการแสวงหา
ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ทำให้เรามีความเป็ นอยู่อย่างสะดวกสบาย
เช่นเราจะรู้สึกว่าไม่มีความสุขหากอากาศร้อนมากวิทยาศาสตร์ช่วยให้เรามีพัดลมหรือแอร์ เรา
ได้รับความบันเทิงทางเทคโนโลยีเช่นทีวี วิทยุ เป็ นต้น เราสามารถเก็บข้อมูลได้มากมายเรียกใช้
ข้อมูลประมวลความรู้และสื่อสารข้อมูลไปทั่วโลกได้อย่างรวดเร็วจากเครื่องคอมพิวเตอร์
วิทยาศาสตร์ช่วยให้เราเข้าใจตัวเองและโลกรอบตัวความยิ่งใหญ่และความซับซ้อนของ
ธรรมชาติท าให้เราพยายามอธิบายเพื่อสร้างความเข้าใจและแสวงหาความรู้เกี่ยวกับเรื่องราว
ในจักรวาล ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ทำให้เราเกิดความตระหนักมากขึ ้นและพยายามที่เขียน
อธิบายสิ่งที่เกิดขึ ้นอย่างมีเหตุผล

เด็กเล็กๆมีธรรมชาติที่เป็นผู้ความอยากรู้อยากเห็น ชอบใช้คำถามว่า ทำไม อย่างไรสามารถ
แสวงหาความรู้จากสิ่งต่างๆรอบตัวเขาและเริ่มเข้าใจสภาพแวดล้อมที่เขาอาศัยอยู่ เด็กสามารถ
สังเกตและสื่อสารเกี่ยวเรื่องดิน หิน อากาศและท้องฟ้ า เรียนรู้เกี่ยวกับวัตถุพลังงานจาก
แม่เหล็ก แสงและเสียง เด็กสามารถส ารวจลักษณะของน ้าและความร้อน สิ่งเหล่านี ้ท าให้เด็ก
ปฐมวัยเริ่มการทำงานทางวิทยาศาสตร์ เด็กสามารถแก้ปัญหาต่างๆโดยใช้กระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์ในการเรียนรู้เรื่อง อื่นๆได้มากมาย กิจกรรมวิทยาศาสตร์ส่งเสริมพัฒนาการทาง
สติปัญญาโดยทำให้เด็กได้รับความรู้ พัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์เช่น การ
สังเกต การจำแนกประเภท การเรียงล าดับ การวัด การคาดคะเน และการสื่อสาร รวมทั้งทักษะ
การแสวงหาความรู้กิจกรรมวิทยาศาสตร์ทำให้เด็กสนใจวัตถุและเหตุการณ์
เด็กเล็กมีวิธีการเรียนรู้คล้ายนักวิทยาศาสตร์สามารถท างานด้วยทักษะการแสวง หาความรู้ 
กิจกรรมวิทยาศาสตร์ส่งเสริมความสามารถในการคิดวิเคราะห์และพัฒนาการทางอารมณ์เช่น
เด็กมีความรู้สึกและเจตคติทางบวก
วิทยาศาสตร์หมายถึงการสืบค้นและอธิบายเหตุการณ์ที่เกิดขึ ้นในธรรมชาติสภาพแวดล้อมและร่างกาย
มนุษย์ หรือวิทยาศาสตร์หมายถึง ความรู้เกี่ยวกับสิ่งต่างๆในธรรมชาติ โดยได้จากการศึกษาค้นคว้าอย่างมี
ขั้นตอนและมีระเบียบแบบแผน ความรู้ของข้อมูลต่างๆ ที่นักวิทยาศาสตร์ค้นพบสามารถเปลี่ยนแปลงได้
เมื่อมีหลักฐานและข้อมูลเพิ่ม เติมขึ้นจากการค้นพบใหม่ที่เป็นปัจจุบันและที่ดีกว่าคือ ตัวอย่างและข้อมูลที่
เกี่ยวกับข้อเท็จจริงที่สามารถทดสอบได้ มีขอบเขต มีระเบียบกฎเกณฑ์ มีการสังเกตการจดบันทึกการ
ตั ้งสมมติฐาน และอื่นๆ วิทยาศาสตร์มีขอบข่ายการศึกษาค่อนข้างกว้างขวาง แต่โดยสรุปแล้ วก็คือ
การศึกษาธรรมชาติของสิ่งต่างๆ ที่อยู่รอบตัวเรา ซึ่งอาศัยกระบวนการค้นคว้าหาความรู้ที่มีขั ้นตอนเป็ น
ระเบียบแบบแผนตั ้งแต่ สมัยโบราณ มนุษย์พยายามเรียนรู้ท าความเข้าใจและอธิบายธรรมชาติของสิ่ง
ต่างๆ ที่อยู่รอบตัวเรา อันได้แก่ พฤติกรรมการเปลี่ยนแปลง และปรากฏการณ์ต่างๆ จนน าไปสู่การก าหนด
หลักการ กฎเกณฑ์ และทฤษฏี อันเป็ นรากฐานของการศึกษาค้นคว้าแก้ปัญหาที่มีความซับซ้อนมากขึ้นเช่น ชาร์ลส์ ดาร์วิน ได้ศึกษาธรรมชาติและพฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต แล้ วสรุปเป็ นทฤษฎีวิวัฒนาการ แอล
เบิร์ต ไอน์สไตน์ ได้ศึกษาความธรรมชาติและความสัมพันธ์ของสสารกับพลังงาน จนได้มาเป็ นทฤษฎี
วิวัฒนาการ เป็นต้น

วิจัย

                           
     การศึกษาผลของรูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบเด็กนักวิจัยที่มี

ต่อทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย


ความสำคัญของการศึกษาค้นคว้า

การศึกษาคร้ังน้ีจะเป็นแนวทางสำหรับครูและผู้ที่เกี่ยวข้องกับเด็กปฐมวัยในการที่จัดรูปแบบการเรียนการ
สอนโดยการนำรูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบเด็กนักวิจัยซึ่งเป็ นรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นสำคัญมาประยุกต์ใช้
ให้เหมาะเพื่อสามารถนำมาพัฒนาทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยรวมท้งัการพัฒนาทักษะ
พื้นฐานอื่นๆของเด็กปฐมวัยต่อไป

กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย

ตัวอย่างที่ใชใ้นการศึกษาครั้งนี้คือ เด็กปฐมวยั ชาย-หญิง อายุระหว ่าง5-6ปีที่กำลังอยูในช่วงอนุบาลชั้นปีที่3
โรงเรียนอนุบาลทนาพรวิทยา อำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี 




กรอบแนวคิดในการวิจัย

 ตัวแปรจัดกระทำ = การจัดการเรียนรู้แบบเด็กนักวิจัย
 ตัวแปรตาม = ทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์
1.ทักษะการสังเกต 
2.ทักษะการจำแนกประเภท
3.ทักษะการสื่อความหมายข้อมูล
4.ทักษะการลงความเห็น
4.ทักษะการพยากรณ์



สมมุติฐานในการวิจัย

เด็กปฐมวัยหลังจากได้รับการจัดการเรียนรู้เด็กนักวิจัยจะมีการเปลี่ยนแปลงของทักษะกระบวนการ
วิทยาศาสตร์แตกต่างจากก ่อนการจัดกิจกรรม

วิธีดำเนินการวิจัย

1. การกำหนดประชากรและการเลือกกลุ่มตัวอย่าง
2. การสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
3. การเก็บรวบรวมข้อมูล
4. การจัดกระทำและการวิเคราะห์ข้อมูล

การสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย

ในการวจิยัคร้ังน้ีเครื่องมอืที่ใชใ้นการวจิยัคือ

1. แผนการจัดการเรียนรู้แบบเด็กนักวิจัย
2. แบบทดสอบวัดทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ สำหรับเด็กปฐมวัย

จุดประสงค์

1. เพื่อส่งเสริมทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์
-ทักษะการสังเกต
-ทักษะการจำแนกประเภท
-ทักษะการสื่อความหมายข้อมูล
-ทักษะการลงความเห็น
-ทักษะการพยากรณ์
2. เพื่อให้เด็กศึกษาค้นคว้าหาความรู้ได้ด้วยตนเองจากแหล่งเรียนรู้
3. เพื่อให้เด็กเกิดความสนุกสนานเพลิดเพลิน และสร้างบรรยากาศที่ดีในการเรียน

เนื้อหา
ไข่มีหลายประเภทมีประโยชน์ตอ่ ร่างกาย เรานำไข่มาทำ อาหารได้มากมายหลายชนิดหลายวีธีอีก
แปรรูปเพื่อเก็บรักษาได้ยาวนานขั้น

ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้

ขั้นที่1ขั้น ทบทวนความรู้และเลือกหัวข้อเนื้อหาที่สนใจ
ครูศึกษาความต้องการของผู้เรียนโดยการสนทนา ซักถาม หัวข้อเนื้อหาที่เด็กสนใจและให้เด็กเล่า
ประสบการณ์เดิมที่เกี่ยวข้องกับเรื่อง”ไข่”

ขั้นที่2ขั้น เด็กค้นคว้าหาความรู้

ขั้นที่3 ขั้นการประเมนิผล

การประเมินผล
1. สังเกตการณ์เข้าร่วมกิจกรรม
2. สังเกตการณ์ตั้งคำถามและตอบคำถาม
3. สังเกตการณ์พูดคุยสนทนา


แผนกำหนดการจัดการเรียนรู้แบบเด็กนักวิจัย
ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้แบบเด็กนักวิจัย